รายงานการเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2559
(วันที่ 1 ตุลาคม 2558 - 31 มีนาคม 2559)
คปสอ.สอง
งานควบคุมและป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง คปสอ. สอง เก็บรวบรวมข้อมูลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 5 โรค ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง และโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง จากโปรแกรมเวชระเบียนโรงพยาบาลสอง และ รพ.สต.ในเครือข่าย นำมาประมวลผล วิเคราะห์ และสรุปสถานการณ์การเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ทุก 6 เดือน โดยสถานการณ์การเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ปี 2559ณ วันที่ 31 มีนาคม 2559 เป็นดังนี้
ส่วนที่ 1 ข้อมูลการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังปี 2555 - 2559
ตารางที่ 1 จำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2555 - 2559
ตารางที่ 1 จำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2555 - 2559 |
ปี |
2555 |
2556 |
2557 |
2558 |
2559 |
|
จำนวน |
อัตรา/แสนประชากร |
จำนวน |
อัตรา/แสนประชากร |
จำนวน |
อัตรา/แสนประชากร |
จำนวน |
อัตรา/แสนประชากร |
จำนวน |
อัตรา/แสนประชากร |
HT |
4,652 |
8,726.32 |
5,219 |
9,789.54 |
5,843 |
11,411.89 |
6,487 |
12,541.08 |
6,743 |
13,248.85 |
DM |
1,704 |
3,196.40 |
1,829 |
3,430.75 |
1,930 |
3,769.46 |
2,194 |
4,241.58 |
2,204 |
4,330.48 |
IHD |
50 |
93.79 |
56 |
105.04 |
57 |
111.33 |
80 |
154.66 |
87 |
170.94 |
Stroke |
138 |
258.86 |
120 |
225.09 |
142 |
277.34 |
151 |
291.92 |
113 |
222.03 |
COPD |
374 |
701.56 |
396 |
742.80 |
372 |
726.55 |
344 |
665.04 |
323 |
634.64 |
ที่มา รายงานจำนวนผู้ป่วยนอกจากโปรแกรมเวชระเบียน ปี 2555 – 2559
แผนภูมิที่ 1 อัตราป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2555 – 2559
(จำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อรังต่อจำนวนประชากรแสนคน)
จากข้อมูลจำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ในตารางที่ 1 และแผนภูมิที่ 1 ปี 2555-2559 อัตราการป่วยด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจขาดเลือดและโรคหลอดเลือดสมอง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ส่วนอัตราการป่วยด้วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังมีแนวโน้มลดลง
ส่วนที่ 2 ความชุกของการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง) ปี 2558
ตารางที่ 2 ความชุกของการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (เบาหวานและความดันโลหิตสูง) ปี 2558
ความชุกของการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง (ปีงบประมาณ 2558) |
|
|
|
|
|
|
ตำบล |
ประชากร |
เบาหวาน |
ร้อยละ (DM) |
ความดันโลหิตสูง |
ร้อยละ(HT) |
บ้านหนุน |
5,996 |
397 |
6.62 |
1,125 |
18.76 |
บ้านกลาง |
5,028 |
398 |
7.92 |
1,321 |
26.27 |
ห้วยหม้าย |
5,819 |
392 |
6.69 |
1,022 |
17.56 |
เตาปูน |
5,869 |
244 |
4.16 |
731 |
12.46 |
หัวเมือง |
4,677 |
318 |
6.78 |
869 |
18.58 |
สะเอียบ |
4,650 |
202 |
4.33 |
713 |
15.33 |
แดนชุมพล |
1,792 |
95 |
5.30 |
311 |
17.35 |
ทุ่งน้าว |
2,584 |
136 |
5.24 |
395 |
15.29 |
รวม |
36,415 |
2,194 |
6.02 |
6,487 |
17.81 |
แผนภูมิที่ 2 แสดงอัตราความชุกของการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (โรคเบาหวาน) ปี 2558

จากข้อมูลจำนวนและอัตราความชุกของโรคเบาหวาน ในตารางที่ 2 และแผนภูมิที่ 2 พบว่า ในปี 2558 อัตราความชุกของการเกิดโรคเบาหวาน ในปี 2558 พบมากในพื้นที่ตำบล บ้านกลาง คิดเป็นร้อยละ 7.92 รองลงมาได้แก่ตำบล หัวเมือง , ห้วยหม้าย ร้อยละ 6.78 , 6.69 ตามลำดับ และพบน้อยที่สุดตำบลเตาปูน ร้อยละ 4.16
แผนภูมิที่ 3 แสดงอัตราความชุกของการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (โรคความดันโลหิตสูง) ปี 2558

จากข้อมูลจำนวนและอัตราความชุกของโรคความดันโลหิตสูง แผนภูมิที่ 3 พบว่า ในปี 2558 อัตราความชุกของการเกิดโรคความดันโลหิตสูง ในปี 2558 พบมากในพื้นที่ตำบล บ้านกลาง คิดเป็นร้อยละ 26.27รองลงมาได้แก่ตำบล บ้านหนุน , หัวเมือง ร้อยละ 18.76 , 18.58 ตามลำดับ และพบน้อยที่สุดตำบลเตาปูน ร้อยละ 12.46
ที่มา สรุปรายงานความชุกของการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2558
ความชุกของการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง (ปีงบประมาณ 2559) |
|
|
|
|
|
|
ตำบล |
ประชากร |
เบาหวาน |
ร้อยละ(DM) |
ความดันโลหิตสูง |
ร้อยละ(HT) |
บ้านหนุน |
6,098 |
399 |
6.54 |
1,147 |
18.81 |
บ้านกลาง |
5,055 |
403 |
7.97 |
1,332 |
26.35 |
ห้วยหม้าย |
5,872 |
398 |
6.78 |
1,050 |
17.88 |
เตาปูน |
5,950 |
249 |
4.18 |
775 |
13.03 |
หัวเมือง |
4,759 |
317 |
6.66 |
924 |
19.42 |
สะเอียบ |
4,744 |
206 |
4.34 |
753 |
15.87 |
แดนชุมพล |
1,833 |
97 |
5.29 |
349 |
19.04 |
ทุ่งน้าว |
2,636 |
139 |
5.27 |
413 |
15.66 |
รวม |
36,957 |
2204 |
5.96 |
6743 |
18.25 |
แผนภูมิที่ 4 แสดงอัตราความชุกของการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (โรคความเบาหวาน) ปี 2559

จากข้อมูลจำนวนและอัตราความชุกของโรคเบาหวาน ในแผนภูมิที่ 4 พบว่า ในปี 2559 อัตราความชุกของการเกิดโรคเบาหวาน ในปี 2559 พบมากในพื้นที่ตำบล บ้านกลาง คิดเป็นร้อยละ 7.97 รองลงมาได้แก่ตำบล ห้วยหม้าย , หัวเมือง ร้อยละ 6.78 , 6.66 ตามลำดับ และพบน้อยที่สุดตำบลเตาปูน ร้อยละ 4.18
แผนภูมิที่ 5 แสดงอัตราความชุกของการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (โรคความดันโลหิตสูง) ปี 2559

จากข้อมูลจำนวนและอัตราความชุกของโรคความดันโลหิตสูง แผนภูมิที่ 5 พบว่า ในปี 2559 อัตราความชุกของการเกิดโรคความดันโลหิตสูง ในปี 2559 พบมากในพื้นที่ตำบล บ้านกลาง คิดเป็นร้อยละ 26.35รองลงมาได้แก่ตำบล หัวเมือง , แดนชุมพล ร้อยละ 19.42 , 19.04 ตามลำดับ และพบน้อยที่สุดตำบลเตาปูน ร้อยละ 13.03
ตารางแสดงอัตราป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 5 โรค จำแนกตามอายุ อำเภอสอง ปี 2558
โรค |
< 15 ปี |
15 - 39 ปี |
40 - 49 ปี |
50 - 59 ปี |
60 ปี ขึ้นไป |
HT |
0.1 |
2.04 |
12.65 |
25.15 |
43.66 |
DM |
0 |
0.75 |
3.97 |
8.83 |
13.7 |
IHD |
0 |
0.01 |
0.14 |
0.22 |
0.69 |
Stroke |
0 |
0 |
0.02 |
0.03 |
0.07 |
COPD |
0 |
0.01 |
0.18 |
0.35 |
1.9 |
แผนภูมิที่ 6 แสดงอัตราป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 5 โรค จำแนกตามอายุ ปี 2558

จากแผนภูมิที่ 6 พบว่า อัตราป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังส่วนใหญ่ พบในกลุ่มอายุ 60 ปี ขึ้นไป รองลงมา คือ กลุ่มอายุ 50 – 59 ปี และ 40 – 49 ปี ตามลำดับ
ตารางแสดงอัตราป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 5 โรค จำแนกตามอายุ อำเภอสอง ปี 2559
โรค |
< 15 ปี |
15 - 39 ปี |
40 - 49 ปี |
50 - 59 ปี |
60 ปี ขึ้นไป |
HT |
0.1 |
1.87 |
12.36 |
25.11 |
43.64 |
DM |
0 |
0.72 |
3.8 |
8.79 |
13.66 |
IHD |
0 |
0.01 |
0.14 |
0.2 |
0.71 |
Stroke |
0 |
0 |
0.02 |
0.03 |
0.08 |
COPD |
0 |
0.01 |
0.15 |
0.33 |
1.8 |
แผนภูมิที่ 7 แสดงอัตราป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 5 โรค จำแนกตามอายุ ปี 2559

จากแผนภูมิที่ 7 พบว่า อัตราป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ส่วนใหญ่พบในกลุ่มอายุ 60 ปี ขึ้นไป รองลงมา คือ กลุ่มอายุ 50 – 59 ปี และ 40 – 49 ปี ตามลำดับ
|